Year: 2021

  • FIBO Talk Series : การแข่งขันหุ่นยนต์เคลื่อนที่อัตโนมัติ สร้างระบบเกษตรอัจฉริยะต่อยอดเชิงพาณิชย์

    FIBO Talk Series : การแข่งขันหุ่นยนต์เคลื่อนที่อัตโนมัติ สร้างระบบเกษตรอัจฉริยะต่อยอดเชิงพาณิชย์

    ขอเชิญผู้สนใจรับชม FIBO Talk Series : การแข่งขันหุ่นยนต์เคลื่อนที่อัตโนมัติ สร้างระบบเกษตรอัจฉริยะต่อยอดเชิงพาณิชย์ โดยจะมีประเด็นที่น่าสนใจ ดังนี้ เป้าหมายโครงการ ระบบอัตโนมัติและการเกษตร นวัตกรรมที่น่าสนใจสำหรับการเกษตร การยกระดับการเกษตรของไทย บรรยายโดย ผศ.ปัญญา เหล่าอนันต์ธนา อาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันเสาร์ที่ 20 มีนาคม 2564 เวลา 19.00 – 20.00 น. ใน FACEBOOK LIVE >> https://www.facebook.com/FIBOAIRoboticsforAll

  • ทำอย่างไรให้หุ่นยนต์ถูกนำมาใช้อย่างจริงจังในโรงพยาบาล?

    ทำอย่างไรให้หุ่นยนต์ถูกนำมาใช้อย่างจริงจังในโรงพยาบาล?

    ทำอย่างไรให้หุ่นยนต์ถูกนำมาใช้อย่างจริงจังในโรงพยาบาล? มาร่วมพูดคุยกับ Speakers ในวงการเทคโนโลยี Robot & IT และคุณหมอ กันครับ (Clubhouse – 16 Mar 20.00) https://www.facebook.com/106462888096436/posts/121146523294739/

  • FIBO Talk Series : AI @ School กับทักษะแห่งอนาคต เรียนวิทยาศาสตร์ข้อมูลด้วย KidBright Series

    FIBO Talk Series : AI @ School กับทักษะแห่งอนาคต เรียนวิทยาศาสตร์ข้อมูลด้วย KidBright Series

    ขอเชิญผู้สนใจรับชม FIBO Talk Series : AI @ School กับทักษะแห่งอนาคต เรียนวิทยาศาสตร์ข้อมูลด้วย KidBright Series โดยจะมีประเด็นที่น่าสนใจ ดังนี้🔹 AI @ School คืออะไร🔹 ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมผ่าน Open Source 🔹 ทำความรู้จักกับ KidBright Series 🔹 การเรียนปัญญาประดิษฐ์แบบ STEM บรรยายโดย ดร.เสาวลักษณ์ แก้วกำเนิด นักวิจัยอาวุโส และ ดร.อภิชาติ อินทรพานิชย์ นักวิจัยอาวุโส ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) วันเสาร์ที่ 6 มีนาคม 2564 เวลา 19.00 – 20.00 น.ใน FACEBOOK LIVE >> https://www.facebook.com/FIBO-AIRobotics-for-All-105838601217414

  • FIBO Talk Series : ชวนคนไทยมารู้จักและเข้าใจ AI กับ โครงการ AI ไทยสามารถ by AI for All

    FIBO Talk Series :  ชวนคนไทยมารู้จักและเข้าใจ AI กับ โครงการ AI ไทยสามารถ by AI for All

    ขอเชิญผู้สนใจรับชม FIBO Talk Series : ชวนคนไทยมารู้จักและเข้าใจ AI กับ โครงการ AI ไทยสามารถ by AI for All 🔹 ภาพรวมโครงการ AI ไทยสามารถ 🔹 กิจกรรมภายในโครงการ AI ไทยสามารถ 🔹 ความสนใจและความเข้าใจในเรื่อง AI ของคนไทย 🔹 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านปัญญาประดิษฐ์ในประเทศไทย บรรยายโดย ดร.ศิรวัจน์ อิทธิภูริพัฒน์ และ ดร.อัญชลิสา แต้ตระกูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี วันเสาร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 19.00 – 20.00 น. ในรูปแบบ FACEBOOK LIVE >> https://www.facebook.com/FIBO-AIRobotics-for-All-105838601217414

  • สัมนาฟรี : การพัฒนา CorgiDude ร่วมกับ บอร์ดKidBright

    สัมนาฟรี : การพัฒนา CorgiDude ร่วมกับ บอร์ดKidBright

    พบกับหัวข้อสัมนาฟรี : การพัฒนา CorgiDude ร่วมกับ บอร์ดKidBright โดย น.พ.ภาณุทัต เตชะเสน ผู้ก่อตั้งชมรม เชียงใหม่ เมกเกอร์ คลับ และ ดร.อภิชาติ อินทรพานิชย์ ทีมพัฒนาKidBright ในงาน“รวมพลคน KidBright”ครั้งที่ 3 KidBright Developer Conference 2021 (KDC21) Online แบบ New Normal ภายใต้ธีม: Data Science with KidBright ในวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564 ตั้งแต่เวลา 09.00-16.00 น ทุกท่านสามารถเข้าร่วมงานได้ผ่านช่องทาง Facebook:KidBright NSTDA Channel TVstation

  • KidBright Developer Conference 2021(KDC21)

    KidBright Developer Conference 2021(KDC21)

    มาร่วมกันเชียร์ 8 ทีม สุดท้าย ที่เข้ารอบการแข่งขัน : KidBright  AIBot Tournament ด้วยภาษาถิ่น ในงานรวมพลคน KidBright ครั้งที่ 3  ขอเรียนเชิญทุกท่านเข้าร่วมงาน KidBright Developer Conference 2021 (KDC21) Online แบบ New Normal ภายใต้ธีม: Data Science with KidBright ในวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564  สำหรับโรงเรียนที่สนใจเข้าเป็นกองเชียร์ online  เพื่อชิงเงินรางวัลไม่ต่ำกว่า 30,000 บาท สามารถลงทะเบียนตั้งแต่วันที่ 1-7 กุมภาพันธ์นี้ ที่ https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSccXBNXUXa4wZ82ErxoqCUSj747FvA4OERF9tNo87i7kAASLQ/viewform สำหรับบุคคลที่สนใจท่านสามารถเข้าร่วมงานได้ผ่านช่องทาง Facebook: KidBright และ NSTDA Channel TVstation

  • โครงการอบรมบุคลากรจากภาคเอกชน หลักสูตร Non degree – IIoT

    โครงการอบรมบุคลากรจากภาคเอกชน หลักสูตร Non degree – IIoT

    โครงการอบรมบุคลากรจากภาคเอกชนหลักสูตร Non-degree หัวข้อ IIoT การฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการเพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และทักษะแก่บุคลากรภาคอุตสาหกรรมรวมถึงบุคคลทั่วไปที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป และมีความสนใจเทคโนโลยีไอโอทีสำหรับอุตสาหกรรม (Industrial Internet of Things: IIoT) เน้นการประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อแก้ปัญหาจริงในกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม เปิดรับสมัครตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 15 มกราคม 2564 โดยผู้สนใจสามารถสมัครเข้าร่วมโครงการ ได้ที่ shorturl.at/wBF34 (รับผู้เข้าร่วมการอบรม 25 คน) ประกาศผลการรับสมัคร : วันที่ 19 มกราคม 2564 การจัดอบรม : ทุกวันอาทิตย์ 08.30-16.30 น. (จำนวน 7 ครั้ง) ระหว่างวันที่ 24 มกราคม – 7 มีนาคม 2564 ทางออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Discord และ Zoom *การฝึกอบรมมีค่าใช้จ่ายในส่วนของอุปกรณ์ประกอบการอบรม ซึ่งผู้เข้าร่วมอบรมต้องจัดซื้อด้วยตนเอง *ผู้เข้าร่วมการอบรมที่มีชั่วโมงเรียนสะสมมากกว่า 70% จะได้รับประกาศนียบัตรจากสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม…

  • จากโจทย์ธุรกิจสู่โจทย์ AI

    จากโจทย์ธุรกิจสู่โจทย์ AI

    บทความนี้เริ่มมาจากการพูดคุยเรื่องการสร้าง AI project ขององค์กรที่เห็นว่า AI มีความสามารถหลากหลาย มาสู่การนำ AI มาใช้ “การตั้งโจทย์ของ AI ในแต่ละโครงการ ควรเริ่มอย่างไร” ขอเริ่มจากการเล่าถึงเมื่อต้นปีค.ศ. 2019 บริษัทไมโครซอฟท์และ IDC ได้เผยผลสำรวจองค์กรในประเทศไทย พบว่า 57% ขององค์กรได้นำ AI มาใช้งานแล้ว ทั้งในรูปแบบของ AI ที่มากับโซลูชันที่องค์กรเลือก และการตั้งใจนำ AI มาประยุกต์ใช้เอง เมื่อถามถึงเหตุผล 5 อย่างที่องค์กรตั้งใจนำ AI มาประยุกต์ใช้ พบว่า เหตุผลหลัก ๆ คือ การสร้างให้องค์กรมีปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าได้ดีขึ้น ตามมาด้วยการนำ AI มาสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันให้องค์กร และการสร้างผลกำไรที่สูงขึ้น เรื่องที่น่าสนใจมากที่สุดข้อหนึ่งจากการสำรวจเดียวกันนี้ พบว่า สิ่งที่ผู้บริหารองค์กรกังวลในเรื่องของการนำ AI มาใช้มากที่สุด คือ ทักษะในการคิดสร้างสรรค์ (Creativity Skill) หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ…

  • AI กับบทบาทของผู้ช่วยในสังคมแห่งการเรียนรู้

    AI กับบทบาทของผู้ช่วยในสังคมแห่งการเรียนรู้

    หลายท่านอาจคุ้นเคยกับการใช้เทคโนโลยี AI เพื่อตอบสนองความต้องการส่วนบุคคลในแวดวงต่าง ๆ เช่น ระบบแนะนำ (Recommender system) สินค้าและบริการรายบุคคลในแพลตฟอร์มร้านค้าออนไลน์ ระบบ AI เพื่อการตรวจวินิจฉัยโรค รวมถึงระบบอัจฉริยะ (Expert system) ซึ่งช่วยตอบคำถามและให้บริการข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ แต่สำหรับในแวดวงการศึกษาแล้ว การนำเทคโนโลยี AI มาใช้เพื่อสนับสนุนผู้เรียนและผู้สอน [1] เพิ่งเริ่มต้นขึ้นตัวอย่างของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี AI เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ที่มีการพัฒนาอย่างแพร่หลาย ได้แก่ การใช้ความสามารถของ AI วิเคราะห์รูปแบบการเรียนรู้ เพื่อให้คำแนะนำหรือบริการที่สนองตอบความต้องการของส่วนบุคคล เนื่องจากผู้เรียนแต่ละคนมีทักษะ ประสบการณ์ชีวิต เป้าหมายการเรียนรู้และความคาดหวังที่แตกต่างกัน ดังนั้นการเรียนการสอนในรูปแบบเดิม ๆ ที่นักเรียนทุกคนต้องเรียนรู้สิ่งเดียวกัน ด้วยวิธีเดียวกัน จึงไม่สามารถตอบสนองความต้องการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนได้ การใช้ เทคโนโลยี AI เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ตามอัธยาศัย Photo by Wes Hicks on Unsplash ปัจจุบันมีงานวิจัยที่ศึกษาและพัฒนาระบบแนะนำเส้นทางการเรียนรู้ (Learning Path Recommendation) ที่เน้นให้บริการผู้เรียนในระบบ e-learning หรือระบบการเรียนรู้ตามอัธยาศัย…

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

อนุญาตทั้งหมด
Manage Consent Preferences
  • Always Active

บันทึก